ข้ามไปเนื้อหา

ประชุมพงศาวดาร/ภาคที่ 8/อธิบายประกอบ

จาก วิกิซอร์ซ

จดหมายเหตุโหร, พระเทวโลก (แหยม วัชรโชติ)

[แก้ไข]

วันเวลา

[แก้ไข]
จันทรคติ ตรงกับ หมายเหตุ
ตามจดหมายเหตุ คำอ่าน
4 8 6 ค่ำ ปีมะเส็ง จ.ศ. 283 วันพุธ แรม 8 ค่ำ เดือน 6 ปีมะเส็ง จ.ศ. 283 วันพุธที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 1464[1]
3 1 5 ค่ำ ปีเถาะ จ.ศ. 435 วันอังคาร ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีเถาะ จ.ศ. 435 วันอังคารที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 1615[1]
3 9 6 ค่ำ ปีขาล จ.ศ. 496 วันอังคาร ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 6 ปีขาล จ.ศ. 496 วันอังคารที่ 3 เมษายน พ.ศ. 1677[1] คำนวณได้เป็นวันขึ้น 8 ค่ำ[1]
1 9 3 ค่ำ ปีจอ จ.ศ. 600 วันอาทิตย์ แรม 9 ค่ำ เดือน 3 ปีจอ จ.ศ. 600 วันอาทิตย์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 1781[1]
5 15 6 ค่ำ ปีจอ จ.ศ. 600 วันพฤหัสบดี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ปีจอ จ.ศ. 600 วันพฤหัสบดีที่ 29 เมษายน พ.ศ. 1781[2]
2 8 5 ค่ำ ปีขาล จ.ศ. 676 วันจันทร์ ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 5 ปีขาล จ.ศ. 676 วันจันทร์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 1856[2]
6 6 5 ค่ำ ปีเถาะ จ.ศ. 712 เวลา 3 นาฬิกา 9 บาท วันศุกร์ ขึ้น 6 ค่ำ เดือน 5 ปีเถาะ จ.ศ. 712 เวลา 3 นาฬิกา 9 บาท วันศุกร์ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 1893 เวลา 09:54 นาฬิกา[2]
6 6 4 ค่ำ ปีกุน จ.ศ. 721 วันศุกร์ ขึ้น 6 ค่ำ เดือน 4 ปีกุน จ.ศ. 721 วันศุกร์ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 1902[2] คำนวณได้เป็นวันขึ้น 5 ค่ำ[2]
1 9 1 ค่ำ ปีเถาะ จ.ศ. 869 ยามแตรเที่ยง วันอาทิตย์ แรม 9 ค่ำ เดือนอ้าย ปีเถาะ จ.ศ. 869 ยามแตรเที่ยง วันอาทิตย์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2050 เวลาระหว่าง 9–10 นาฬิกา[3]
7 5 5 ค่ำ ปีมะแม จ.ศ. 909 วันเสาร์ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 5 ปีมะแม จ.ศ. 909 วันเสาร์ที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2089[3]
1 5 8 ค่ำ ปีวอก จ.ศ. 910 วันอาทิตย์ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 8 ปีวอก จ.ศ. 910 วันอาทิตย์ที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2091[3]
7 11 9 ค่ำ ปีมะโรง จ.ศ. 918 วันเสาร์ ขึ้น 11 ค่ำ เดือน 9 ปีมะโรง จ.ศ. 918 วันเสาร์ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2099[4]
6 6 12 ค่ำ ปีมะโรง จ.ศ. 918 วันศุกร์ ขึ้น 6 ค่ำ เดือน 12 ปีมะโรง จ.ศ. 918 วันศุกร์ที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2099[4]
5 14 8 ค่ำ ปีระกา จ.ศ. 923 วันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 8 ปีระกา จ.ศ. 923 วันพฤหัสบดีที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2104[4] คำนวณได้เป็นวันแรม 13 ค่ำ[4]
7 1 9 ค่ำ ปีระกา จ.ศ. 923 วันเสาร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 9 ปีระกา จ.ศ. 923 วันเสาร์ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2104[4] คำนวณได้เป็นวันแรม 15 ค่ำ[4]
1 10 9 ค่ำ ปีมะเส็ง จ.ศ. 931 วันอาทิตย์ แรม 10 ค่ำ เดือน 9 ปีมะเส็ง จ.ศ. 931 วันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2112[4]
6 5 12 ค่ำ ปีมะเส็ง จ.ศ. 931 วันศุกร์ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 12 ปีมะเส็ง จ.ศ. 931 วันศุกร์ที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2112[4]
5 3 5 ค่ำ ปีจอ จ.ศ. 1044 วันพฤหัสบดี แรม 3 ค่ำ เดือน 5 ปีจอ จ.ศ. 1044 วันพฤหัสบดีที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2224[5]
5 4 3 ค่ำ ปีมะแม จ.ศ. 1089 วันพฤหัสบดี แรม 4 ค่ำ เดือน 3 ปีมะแม จ.ศ. 1089 วันพฤหัสบดีที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2270[6]
4 10 10 ค่ำ ปีขาล จ.ศ. 1096 วันพุธ แรม 10 ค่ำ เดือน 10 ปีขาล จ.ศ. 1096 วันพุธที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2277[6]
7 1 3 ค่ำ ปีขาล จ.ศ. 1096 วันเสาร์ แรม 1 ค่ำ เดือน 3 ปีขาล จ.ศ. 1096 วันเสาร์ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2278[6]
6 1 12 ค่ำ ปีชวด จ.ศ. 1106 วันศุกร์ แรม 1 ค่ำ เดือน 12 ปีชวด จ.ศ. 1106 วันศุกร์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2287[7]
3 4 5 ค่ำ ปีเถาะ จ.ศ. 1109 วันอังคาร ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 5 ปีเถาะ จ.ศ. 1109 วันอังคารที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2289[7]
5 10 7 ค่ำ ปีเถาะ จ.ศ. 1109 วันพฤหัสบดี ขึ้น 10 ค่ำ เดือน 7 ปีเถาะ จ.ศ. 1109 วันพฤหัสบดีที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2290[7]
4 5 6 ค่ำ ปีขาล จ.ศ. 1120 วันพุธ แรม 5 ค่ำ เดือน 6 ปีขาล จ.ศ. 1120 วันพุธที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2301[7]
5 1 88 ค่ำ ปีขาล จ.ศ. 1120 วันพฤหัสบดี แรม 1 ค่ำ เดือน 8 อุตราษาฒ ปีขาล จ.ศ. 1120 วันพฤหัสบดีที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2301[7]
7 15 12 ค่ำ ปีมะโรง จ.ศ. 1122 วันเสาร์ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ปีมะโรง จ.ศ. 1122 วันเสาร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2303[8]
1 1 12 ค่ำ ปีมะเมีย จ.ศ. 1124 วันอาทิตย์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 12 ปีมะเมีย จ.ศ. 1124 วันอาทิตย์ที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2305[8]
2 1 12 ค่ำ ปีมะเมีย จ.ศ. 1124 วันจันทร์ แรม 1 ค่ำ เดือน 12 ปีมะเมีย จ.ศ. 1124 วันจันทร์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2305[8]
2 9 8 ค่ำ ปีจอ จ.ศ. 1128 วันจันทร์ แรม 9 ค่ำ เดือน 8 ปีจอ จ.ศ. 1128 วันจันทร์ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2309[8]
2 8 5 ค่ำ ปีกุน จ.ศ. 1129 วันจันทร์ ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 5 ปีกุน จ.ศ. 1129 วันจันทร์ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2310[8] ในวันเหล่านี้ ยังเป็น จ.ศ. 1128 อยู่ (ยังไม่เถลิงศกใหม่)[8]
3 9 5 ค่ำ ปีกุน จ.ศ. 1129 วันอังคาร ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 5 ปีกุน จ.ศ. 1129 วันอังคารที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2310[8]
5 11 5 ค่ำ ปีกุน จ.ศ. 1129 วันพฤหัสบดี ขึ้น 11 ค่ำ เดือน 5 ปีกุน จ.ศ. 1129 วันพฤหัสบดีที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2310[8]
3 4 1 ค่ำ ปีชวด จ.ศ. 1130 วันอังคาร แรม 4 ค่ำ เดือนอ้าย ปีชวด จ.ศ. 1130 วันอังคารที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2311[9] คำนวณได้เป็นวันแรม 3 ค่ำ[9]
5 14 11 ค่ำ ปีมะเส็ง จ.ศ. 1135 วันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง จ.ศ. 1135 วันพฤหัสบดีที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2316[9]
2 1 1 ค่ำ ปีมะเส็ง จ.ศ. 1135 วันจันทร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือนอ้าย ปีมะเส็ง จ.ศ. 1135 วันจันทร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2316[9]
3 7 2 ค่ำ ปีมะเส็ง จ.ศ. 1135 วันอังคาร แรม 7 ค่ำ เดือนยี่ ปีมะเส็ง จ.ศ. 1135 วันอังคารที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2316[9]
3 1 10 ค่ำ ปีมะเมีย จ.ศ. 1136 วันอังคาร ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 10 ปีมะเมีย จ.ศ. 1136 วันอังคารที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2317[9]
2 10 12 ค่ำ ปีมะเมีย จ.ศ. 1136 วันจันทร์ แรม 10 ค่ำ เดือน 12 ปีมะเมีย จ.ศ. 1136 วันจันทร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2317[9]
3 11 12 ค่ำ ปีมะเมีย จ.ศ. 1136 วันอังคาร แรม 11 ค่ำ เดือน 12 ปีมะเมีย จ.ศ. 1136 วันอังคารที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2317[9]
5 11 2 ค่ำ ปีมะเมีย จ.ศ. 1136 วันพฤหัสบดี ขึ้น 11 ค่ำ เดือน 12 ปีมะเมีย จ.ศ. 1136 วันพฤหัสบดีที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2317[9]
7 13 2 ค่ำ ปีมะเมีย จ.ศ. 1136 วันเสาร์ ขึ้น 13 ค่ำ เดือน 12 ปีมะเมีย จ.ศ. 1136 วันเสาร์ที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2317[9]
5 1 3 ค่ำ ปีมะเมีย จ.ศ. 1136 วันพฤหัสบดี แรม 1 ค่ำ เดือน 3 ปีมะเมีย จ.ศ. 1136 วันพฤหัสบดีที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2317[9]
1 2 5 ค่ำ ปีมะแม จ.ศ. 1137 วันอาทิตย์ ขึ้น 2 ค่ำ เดือน 5 ปีมะแม จ.ศ. 1137 วันอาทิตย์ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2318[10] ในวันเหล่านี้ ยังเป็น จ.ศ. 1136 อยู่ (ยังไม่เถลิงศกใหม่)[10]
1 9 5 ค่ำ ปีมะแม จ.ศ. 1137 วันอาทิตย์ ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 5 ปีมะแม จ.ศ. 1137 วันอาทิตย์ที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2318[10]
2 10 10 ค่ำ ปีมะแม จ.ศ. 1137 วันจันทร์ ขึ้น 10 ค่ำ เดือน 10 ปีมะแม จ.ศ. 1137 วันจันทร์ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2318[10]
3 2 11 ค่ำ ปีมะแม จ.ศ. 1137 วันอังคาร ขึ้น 2 ค่ำ เดือน 11 ปีมะแม จ.ศ. 1137 วันอังคารที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2318[10]
5 15 6 ค่ำ ปีวอก จ.ศ. 1138 วันพฤหัสบดี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ปีวอก จ.ศ. 1138 วันพฤหัสบดีที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2319[10]
2 12 10 ค่ำ ปีวอก จ.ศ. 1138 วันจันทร์ แรม 12 ค่ำ เดือน 10 ปีวอก จ.ศ. 1138 วันจันทร์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2319[10]
2 11 3 ค่ำ ปีวอก จ.ศ. 1138 วันจันทร์ แรม 11 ค่ำ เดือน 3 ปีวอก จ.ศ. 1138 วันจันทร์ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2319[10]
7 14 5 ค่ำ ปีจอ จ.ศ. 1140 วันเสาร์ แรม 14 ค่ำ เดือน 5 ปีจอ จ.ศ. 1140 วันเสาร์ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2321[10]
3 14 5 ค่ำ ปีชวด จ.ศ. 1142 วันอังคาร ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 5 ปีชวด จ.ศ. 1142 วันอังคารที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2323[10]
5 8 5 ค่ำ ปีชวด จ.ศ. 1142 วันพฤหัสบดี แรม 8 ค่ำ เดือน 5 ปีชวด จ.ศ. 1142 วันพฤหัสบดีที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2323[10]
6 6 7 ค่ำ ปีชวด จ.ศ. 1142 วันศุกร์ แรม 6 ค่ำ เดือน 7 ปีชวด จ.ศ. 1142 วันศุกร์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2323[10]
2 6 9 ค่ำ ปีชวด จ.ศ. 1142 วันจันทร์ แรม 6 ค่ำ เดือน 9 ปีชวด จ.ศ. 1142 วันจันทร์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2323[11]

อื่น ๆ

[แก้ไข]
  • เศษ — หมายถึง เศษที่เกิดจากการคำนวณทางโหราศาสตร์[3]

จดหมายเหตุโหรของจมื่นก่งศิลป์, จมื่นก่งศิลป์ (หรุ่น)

[แก้ไข]

เชิงอรรถ

[แก้ไข]

อ้างอิง

[แก้ไข]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1 (2542, น. 11)
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1 (2542, น. 12)
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1 (2542, น. 13)
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 4.7 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1 (2542, น. 14)
  5. ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1 (2542, น. 15)
  6. 6.0 6.1 6.2 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1 (2542, น. 16)
  7. 7.0 7.1 7.2 7.3 7.4 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1 (2542, น. 17)
  8. 8.0 8.1 8.2 8.3 8.4 8.5 8.6 8.7 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1 (2542, น. 18)
  9. 9.00 9.01 9.02 9.03 9.04 9.05 9.06 9.07 9.08 9.09 9.10 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1 (2542, น. 19)
  10. 10.00 10.01 10.02 10.03 10.04 10.05 10.06 10.07 10.08 10.09 10.10 10.11 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1 (2542, น. 20)
  11. ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1 (2542, น. 21)

บรรณานุกรม

[แก้ไข]
  • ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1. (2542). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์. ISBN 9744192151.