พระราชนิยมในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

จาก วิกิซอร์ซ


พระยาประพันธ์ดำรัสลักษณ์ อนุสรณ์

พระราชนิยมในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
พิมพ์ครั้งแรก
(๑,๐๐๐ เล่ม)
ในงานพระราชทานเพลิงศพ มหาเสวกตรี
พระยาประพันธ์ดำรัสลักษณ์ (ถม ศุขะวณิช)
พ.ศ. ๒๕๑๒

พระราชนิยม
ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว


พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในการพระราชทานเพลิงศพมหาเสวกตรี
พระยาประพันธ์ดำรัสลักษณ์
(ถม ศุขะวณิช)
ณ เมรุวัดมกุฎกษัตริยาราม
๒๐ มกราคม ๒๕๑๒

สารบาญ
พระราชนิยมในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
หน้า
คำนำ
ผู้วายชนม์
พระบรมราโชบายลักษณะการปกครองของรัฐบาล
เรื่องเกี่ยวกับราชสำนัก
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยที่รโหฐานในราชสำนัก
เรื่องเกี่ยวกับระเบียบและประเพณี
ให้กระทรวงต่าง ๆ ปฏิบัติการในเรื่องนำชาวต่างประเทศเข้าเฝ้า
พระราชนิยมทรงเซ็นพระบรมนามาภิไธย ราม ร. แทน สยามินทร์
พระราชนิยมมิให้ใส่นามสกุลเจ้าจอม
พระราชนิยมให้ใช้วันที่ ๖ เมษายน (วันจักรี) เป็นวันชาติ
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยคำนำนามเด็ก
พระราชนิยมเรื่องเครื่องแต่งกายหญิงบรรดาศักดิ์ในงานพระศพพระราชวงศ์
เกี่ยวกับชื่อสถานที่
เรื่องชื่อศาลาสหทัยสมาคม
เรื่องชื่อพระที่นั่งพิมานรัตยา
เกี่ยวกับภาษา
พระราชนิยมเรื่องให้ใช้สรรพนามสิ่งของและความหมาย
ให้เรียก "กางเกงไทย" แทน "กางเกงจีน"
ให้เรียก "สัตยาบัน" แทน "รติฟิเคชั่น"
ให้เรียก "ยาตราทัพ" แทน "กรีฑาทัพ"
ให้ใช้คำว่า "เสด็จออกทะเลเพื่อทอดพระเนตรการฝึกซ้อมในกองทัพเรือ" แทนคำว่า "เสด็จพระราชดำเนินประพาสทะเล"
อธิบายความหมายของคำ Reich ในภาษาเยอรมัน
พระราชนิยมในการสะกดคำ
ให้เขียนคำว่า "บัญชี" แทนคำว่า "บาญชี"
ให้เขียนคำว่า "สมพัตสร" แทนคำว่า "สมพักศร"
ให้เขียนคำว่า "ประพาส" แทนคำว่า "ประพาศ"
พระราชนิยมแปลเทียบคำศัพท์
แปลยศและเครื่องราชอิสริยาภรณ์
แปลเทียบศัพท์เกี่ยวกับการศึกษา
เทียบตำแหน่งในกระทรวงวังเป็นภาษาต่าง ๆ
เทียบศัพท์นามเมือง
แก้อักษรโรมันนามเมืองและตำบล

พิมพ์ที่โรงพิมพ์ส่วนท้องถิ่น กรมการปกครอง ถนนพหลโยธิน พระนคร โทร. ๗๑๔๖๔
นายวงษ์ ช่อวิเชียร ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา พ.ศ. ๒๕๑๒

ปกโดย พรตพิมล ศุขะวณิช
รูปเล่มโดย ทวี ศุขะวณิช

บรรณานุกรม[แก้ไข]

  • กรมศิลปากร (ผู้รวบรวม). (2512). พระราชนิยมในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. พระนคร: โรงพิมพ์ส่วนท้องถิ่น. [พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในการพระราชทานเพลิงศพมหาเสวกตรี พระยาประพันธ์ดำรัสลักษณ์ (ถม ศุขะวณิช) ณ เมรุวัดมกุฎกษัตริยาราม 20 มกราคม 2512].

งานนี้ ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า

ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
  2. ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
    1. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
    2. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
  2. แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก