พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช 2484 และรัฐนิยม/ส่วนที่ 2
![]() | หน้านี้อาจเข้าหลักเกณฑ์การลบตามนโยบายของวิกิซอร์ซด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้: ท4 – เพื่อลดความซ้ำซ้อน (ซ้ำซ้อนกับงานหลายฉบับ เช่น 1)
ถ้าคุณไม่เห็นด้วยในการแจ้งลบ โปรดระบุเหตุผลในหน้าคุยของหน้านี้ ถ้าหน้านี้ไม่เข้าเกณฑ์การลบหรือคุณตั้งใจจะปรับปรุงต่อ โปรดนำประกาศนี้ออก แต่ผู้ที่นำป้ายออกต้องไม่ใช่ผู้สร้างหน้าเด็ดขาด ผู้ดูแลระบบโปรดตรวจสอบว่ามีลิงก์ใด ๆ ที่เชื่อมโยงมายังหน้านี้ ประวัติของหน้า (การแก้ไขล่าสุด) และรุ่นใด ๆ ที่เข้าหลักเกณฑ์ตามนโยบายก่อนที่จะดำเนินการลบ หน้านี้มีการแก้ไขล่าสุดโดย Lucubratist (ส่วนร่วม | ปูม) เมื่อเวลา 13:48, 30 พฤษภาคม 2568 (8 วันก่อน) |
อานันทมหิดล
คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
(ตามประกาศประธานสภาผู้แทนราษฎร
ลงวันที่ ๔ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๐)
พล.อ. พิชเยนทรโยธิน
เป็นปีที่ ๘ ในรัชชกาลปัจจุบัน
โดยที่สภาผู้แทนราษฎรลงมติว่า สมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการคณะสงฆ์ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น
จึ่งมีพระบรมราชโองการให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้ โดยคำแนะนำและยินยอมของสภาผู้แทนราษฎร ดั่งต่อไปนี้
มาตรา๑พระราชบัญญัตินี้ให้เรียกว่า “พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔”
มาตรา๒ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา๓ตั้งแต่วันใช้พระราชบัญญัตินี้ ให้ยกเลิกบรรดากฎหมาย กฎ และข้อบังคับอื่น ในส่วนที่มีบัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งแย้งกับบทแห่งพระราชบัญญัตินี้
มาตรา๔ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้[1]
กฎกระทรวงนั้น เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้
มาตรา๕พระมหากษัตริย์ทรงสถาปนาสมเด็จพระสังฆราช
มาตรา๖สมเด็จพระสังฆราชทรงดำรงตำแหน่งสกลมหาสังฆปรินายก และทรงบัญชาการคณะสงฆ์โดยบทแห่งพระราชบัญญัตินี้
หน้า:รัฐนิยม - กฤษฎีกา - ๒๔๘๔.djvu/10หน้า:รัฐนิยม - กฤษฎีกา - ๒๔๘๔.djvu/11หน้า:รัฐนิยม - กฤษฎีกา - ๒๔๘๔.djvu/12หน้า:รัฐนิยม - กฤษฎีกา - ๒๔๘๔.djvu/13หน้า:รัฐนิยม - กฤษฎีกา - ๒๔๘๔.djvu/14หน้า:รัฐนิยม - กฤษฎีกา - ๒๔๘๔.djvu/15หน้า:รัฐนิยม - กฤษฎีกา - ๒๔๘๔.djvu/16หน้า:รัฐนิยม - กฤษฎีกา - ๒๔๘๔.djvu/17หน้า:รัฐนิยม - กฤษฎีกา - ๒๔๘๔.djvu/18หน้า:รัฐนิยม - กฤษฎีกา - ๒๔๘๔.djvu/19หน้า:รัฐนิยม - กฤษฎีกา - ๒๔๘๔.djvu/20หน้า:รัฐนิยม - กฤษฎีกา - ๒๔๘๔.djvu/21หน้า:รัฐนิยม - กฤษฎีกา - ๒๔๘๔.djvu/22หน้า:รัฐนิยม - กฤษฎีกา - ๒๔๘๔.djvu/23หน้า:รัฐนิยม - กฤษฎีกา - ๒๔๘๔.djvu/24หน้า:รัฐนิยม - กฤษฎีกา - ๒๔๘๔.djvu/25หน้า:รัฐนิยม - กฤษฎีกา - ๒๔๘๔.djvu/26หน้า:รัฐนิยม - กฤษฎีกา - ๒๔๘๔.djvu/27หน้า:รัฐนิยม - กฤษฎีกา - ๒๔๘๔.djvu/28หน้า:รัฐนิยม - กฤษฎีกา - ๒๔๘๔.djvu/29หน้า:รัฐนิยม - กฤษฎีกา - ๒๔๘๔.djvu/30หน้า:รัฐนิยม - กฤษฎีกา - ๒๔๘๔.djvu/31หน้า:รัฐนิยม - กฤษฎีกา - ๒๔๘๔.djvu/32หน้า:รัฐนิยม - กฤษฎีกา - ๒๔๘๔.djvu/33หน้า:รัฐนิยม - กฤษฎีกา - ๒๔๘๔.djvu/34หน้า:รัฐนิยม - กฤษฎีกา - ๒๔๘๔.djvu/35
- ↑ นอกจากกฎกระทรวง รัฐมนตรียังมีอำนาจออกระเบียบตามความมในมาตรา ๔๙ เกี่ยวกับสาสนสมบัติของวัด.