พระราชบัญญัติยกเลิกกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งสภาวิจัยปรากฏการณ์ธรรมชาติ พ.ศ. ๒๔๙๕

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า
โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งสภาวิจัยปรากฏการณ์ธรรมชาติ
จึงมีทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้ โดยคำแนะนำและยินยอมของสภาผู้แทนราษฎร ดังต่อไปนี้
พระราชบัญญัตินี้ เรียกว่า “พระราชบัญญัติยกเลิกกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งสภาวิจัยปรากฏการณ์ธรรมชาติ พ.ศ. ๒๔๙๕”
พระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป[1]
ให้ยกเลิก พระราชกำหนดจัดตั้งสภาวิจัยปรากฎการณ์ธรรมชาติ พุทธศักราช ๒๔๘๖ และ พระราชบัญญัติอนุมัติพระราชกำหนดจัดตั้งสภาวิจัยปรากฎการณ์ธรรมชาติ พุทธศักราช ๒๔๘๖ พุทธศักราช ๒๔๘๖
- ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
- จอมพล ป. พิบูลสงคราม
- นายกรัฐมนตรี
เชิงอรรถ[แก้ไข]
- ↑ ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๖๙/ตอนที่ ๑๑/หน้า ๑๑๕/๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๔๙๕
ดูเพิ่ม[แก้ไข]
- พระราชกำหนดจัดตั้งสภาวิจัยปรากตการน์ธัมชาติ พุทธสักราช 2486
- พระราชบัญญัติอนุมัติพระราชกำหนดจัดตั้งสภาวิจัยปรากตการน์ธัมชาติ พุทธสักราช 2486 พุทธสักราช 2486

งานนี้ไม่มีลิขสิทธิ์ เพราะเป็นงานตาม แม่แบบผิดพลาด: โปรดระบุประเภทของงานนี้ (ดูวิธีใช้) แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ของประเทศไทย ซึ่งบัญญัติว่า
- "มาตรา 7 สิ่งต่อไปนี้ไม่ถือว่าเป็นงานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้
- (1) ข่าวประจำวัน และข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่มีลักษณะเป็นเพียงข่าวสาร อันมิใช่งานในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ
- (2) รัฐธรรมนูญ และกฎหมาย
- (3) ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง คำชี้แจง และหนังสือโต้ตอบของกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือของท้องถิ่น
- (4) คำพิพากษา คำสั่ง คำวินิจฉัย และรายงานของทางราชการ
- (5) คำแปลและการรวบรวมสิ่งต่าง ๆ ตาม (1) ถึง (4) ที่กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือของท้องถิ่น จัดทำขึ้น"
