พระราชบัญญัติอนุมัติพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมกดอัยการสึก พ.ส. 2457 พุทธสักราช 2485
หน้าตา
พระราชบัญญัติ
อนุมัติพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมกดอัยการสึก
พ.ส. ๒๔๕๗ พุทธสักราช ๒๔๘๕
ไนพระปรมาภิไธยสมเด็ดพระเจ้าหยู่หัวอานันทมหิดล
คนะผู้สำเหร็ดราชการแทนพระองค์
(ตามประกาสประธานสภาผู้แทนราสดร
ลงวันที่ ๔ สิงหาคม พุทธสักราช ๒๔๘๐
และวันที่ ๑๖ ธันวาคม พุทธสักราช ๒๔๘๕)
คนะผู้สำเหร็ดราชการแทนพระองค์
(ตามประกาสประธานสภาผู้แทนราสดร
ลงวันที่ ๔ สิงหาคม พุทธสักราช ๒๔๘๐
และวันที่ ๑๖ ธันวาคม พุทธสักราช ๒๔๘๕)
ตราไว้ นะ วันที่ ๑๗ กรกดาคม พุทธสักราช ๒๔๘๕
เปนปีที่ ๙ ไนรัชกาลปัจจุบัน
โดยที่สภาผู้แทนราสดรลงมติว่า สมควนอนุมัติพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมกดอัยการสึก พ.ส. ๒๔๕๗ พุทธสักราช ๒๔๘๕
จึงมีพระบรมราชโองการไห้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้ โดยคำแนะนำและยินยอมของสภาผู้แทนราสดร ดังต่อไปนี้
มาตรา๑พระราชบัญญัตินี้ไห้เรียกว่า "พระราชบัญญัติอนุมัติพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมกดอัยการสึก พ.ส. ๒๔๕๗ พุทธสักราช ๒๔๘๕"
มาตรา๒ไห้ไช้พระราชบัญญัตินี้ตั้งแต่วันประกาสไนราชกิจจานุเบกสาเปนต้นไป
มาตรา๓สภาผู้แทนราสดรได้พิจารนาลงมติอนุมัติพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมกดอัยการสึก พ.ส. ๒๔๕๗ พุทธสักราช ๒๔๘๕ ตามรัถธัมนูญแห่งราชอานาจักรไทย มาตรา ๕๒ เมื่อวันที่ ๒ กรกดาคม พุทธสักราช ๒๔๘๕
- ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
- จอมพล ป. พิบูลสงคราม
- นายกรัถมนตรี
บรรณานุกรม
[แก้ไข]- "พระราชบัญญัติอนุมัติพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมกดอัยการสึก พ.ส. 2457 พุทธสักราช 2485". (2485, 28 กรกฎาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 59, ตอน 49 ก. หน้า 1384–1385.
งานนี้ไม่มีลิขสิทธิ์ เพราะเป็นงานตามมาตรา 7 (2) แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ของประเทศไทย ซึ่งบัญญัติว่า
- "มาตรา 7 สิ่งต่อไปนี้ไม่ถือว่าเป็นงานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้
- (1)ข่าวประจำวัน และข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่มีลักษณะเป็นเพียงข่าวสาร อันมิใช่งานในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ
- (2)รัฐธรรมนูญ และกฎหมาย
- (3)ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง คำชี้แจง และหนังสือโต้ตอบของกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือของท้องถิ่น
- (4)คำพิพากษา คำสั่ง คำวินิจฉัย และรายงานของทางราชการ
- (5)คำแปลและการรวบรวมสิ่งต่าง ๆ ตาม (1) ถึง (4) ที่กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือของท้องถิ่น จัดทำขึ้น"