ผู้สร้างสรรค์:สุนทรภู่
หน้าตา
←รายชื่อ: ส | สุนทรภู่ (พ.ศ. 2329–2398) |
ขุนนางชาวไทย |
งานรวม
[แก้ไข]- กลอนสารในเรื่องพระอภัย (2459) (ต้นฉบับ)
- ประชุมกลอนนิราสต่าง ๆ ภาคที่ 1 (2481) (ต้นฉบับ)
- ประชุมกลอนนิราศต่าง ๆ ภาคที่ 2 (2466) (ต้นฉบับ)
- ประชุมกลอนสุภาษิตสุนทรภู่ (2466) (ต้นฉบับ)
- ประชุมสุภาษิตสุนทรภู่ (2469) (ต้นฉบับ)
- สถานีย่อย:ขุนช้างขุนแผน
งานรายเรื่อง
[แก้ไข]- กาพย์ เรื่อง พระไชยสุริยา (2495) (ต้นฉบับ)
- นิทานคำกลอน เรื่อง โคบุตร (2514) (ต้นฉบับ)
- "นิราศพระแท่นดงรัง", ใน ประชุมกลอนนิราศต่าง ๆ ภาคที่ 2 (2466) (ต้นฉบับ)
- "นิราศพระบาท", ใน ประชุมกลอนนิราศต่าง ๆ ภาคที่ 1 (2481) (ต้นฉบับ)
- "นิราศพระประธม", ใน ประชุมกลอนนิราศต่าง ๆ ภาคที่ 2 (2466) (ต้นฉบับ)
- นิราศพระประธม ของ สุนทรภู่ ฉบับชำระใหม่ มีแผนที่และภาพ (2504) (ต้นฉบับ)
- "นิราศภูเขาทอง", ใน ประชุมกลอนนิราศต่าง ๆ ภาคที่ 1 (2481) (ต้นฉบับ)
- "นิราศเมืองแกลง", ใน ประชุมกลอนนิราศต่าง ๆ ภาคที่ 1 (2481) (ต้นฉบับ)
- "นิราศเมืองเพ็ชร", ใน ประชุมกลอนนิราศต่าง ๆ ภาคที่ 2 (2466) (ต้นฉบับ)
- "นิราศวัดเจ้าฟ้า", ใน ประชุมกลอนนิราศต่าง ๆ ภาคที่ 1 (2481) (ต้นฉบับ)
- นิราศวัดเจ้าฟ้า ของ สุนทรภู่ พิจัยตรวจสอบและชำระใหม่ (2505) (ต้นฉบับ)
- "นิราศอิเหนา", ใน ประชุมกลอนนิราศต่าง ๆ ภาคที่ 2 (2466) (ต้นฉบับ)
- บทเห่กล่อมพระเจ้าลูกเธอ (2468) (ต้นฉบับ)
- พระอภัยมณี คำกลอนของสุนทรภู่ ฉบับหอสมุดแห่งชาติ (2507) (ต้นฉบับ)
- "เพลงยาวถวายโอวาท", ใน ประชุมกลอนสุภาษิตสุนทรภู่ (2466) (ต้นฉบับ)
- รำพันพิลาป (2510) (ต้นฉบับ)
- "สวัสดิรักษา", ใน ประชุมกลอนสุภาษิตสุนทรภู่ (2466) (ต้นฉบับ)
- "สุภาษิตสอนสัตรี", ใน ประชุมกลอนสุภาษิตสุนทรภู่ (2466) (ต้นฉบับ)
- เสภา เรื่อง พระราชพงศาวดาร (2465) (ต้นฉบับ)
งานที่เกี่ยวข้อง
[แก้ไข]- ประวัติวัดเทพธิดาราม, โดย พระสุนทรกิจโกศล (บัว นิสโภ) (2507)
- ประวัติสุนทรภู่, โดย สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
งานที่บุคคลนี้สร้างสรรค์ขึ้น ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า
- ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
- ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
- ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
- เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
- เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
- ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
- ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
- แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก