สถานีย่อย:รัฐประหารในประเทศไทย/2494
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก สถานีย่อย:คณะบริหารประเทศชั่วคราว)
← 2491 | รัฐประหารในประเทศไทย รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2494 |
2500 → |
เหตุการณ์ในช่วง พ.ศ. 2494–2500: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 22 ยึดอำนาจตนเอง → ก่อตั้งคณะบริหารประเทศชั่วคราว → กลายเป็นคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 23–26 → ถูกยึดอำนาจใน พ.ศ. 2500
งานนี้ยังไม่เสร็จ สามารถดูและร่วมพัฒนาได้ที่ดัชนีนี้: 1 |
งาน
[แก้ไข]การยึดอำนาจ
[แก้ไข]- 29 พฤศจิกายน 2494 – คำแถลงการณ์คณะบริหารประเทศชั่วคราว ฉบับที่ 1 ประกาศยึดอำนาจ
- 29 พฤศจิกายน 2494 – คำแถลงการณ์คณะบริหารประเทศชั่วคราว ฉบับที่ 2 ยกเลิกรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2492
- 29 พฤศจิกายน 2494 – คำแถลงการณ์คณะบริหารประเทศชั่วคราว ฉบับที่ 3 ถวายรายงานและยืนยันความภักดีต่อพระมหากษัตริย์
- 29 พฤศจิกายน 2494 – ประกาศคณะบริหารประเทศชั่วคราว ฉบับที่ 1 ตั้งผู้รักษาความสงบภายใน
- 29 พฤศจิกายน 2494 – ประกาศคณะบริหารประเทศชั่วคราว ฉบับที่ 2 ให้ข้าราชการกลับมาปฏิบัติหน้าที่
- 29 พฤศจิกายน 2494 – ประกาศคณะบริหารประเทศชั่วคราว ฉบับที่ 3 คณะรัฐประหารบริหารราชการไปพลางก่อนตั้งคณะรัฐมนตรี
- 29 พฤศจิกายน 2494 – ประกาศคณะบริหารประเทศชั่วคราว ฉบับที่ 4 ควบคุมสื่อ
- 29 พฤศจิกายน 2494 – ประกาศคณะบริหารประเทศชั่วคราว ฉบับที่ 5 ห้ามชุมนุมทางการเมือง
- 30 พฤศจิกายน 2494 – ประกาศคณะบริหารประเทศชั่วคราว ฉบับที่ 6 ให้ประชาชนอยู่ในความสงบรอพระมหากษัตริย์นิวัตประเทศ
รัฐธรรมนูญ
[แก้ไข]- รัฐธรรมนูญชั่วคราว
- 6 ธันวาคม 2494 – ประกาศพระบรมราชโองการให้ใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ให้นำรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475 กลับมาใช้ไปพลางก่อน
- 27 ธันวาคม 2494 – รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 5/2494 พิจารณาร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม วาระที่ 1–3
- รัฐธรรมนูญฉบับใหม่
- 8 มีนาคม 2495 – หมายกำหนดการ ที่ 4/2495 พระราชพิธีลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้รัฐธรรมนูญ
การบริหารประเทศ
[แก้ไข]- คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 23
- 29 พฤศจิกายน 2494 – ประกาศตั้งและแต่งตั้งรัฐมนตรีชั่วคราว (จอมพล แปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี)
- 1 ธันวาคม 2494 – ประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี (เพิ่มเติม)
- คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 24
- 6 ธันวาคม 2494 – ประกาศตั้งนายกรัฐมนตรี (จอมพล แปลก พิบูลสงคราม)
- คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 25
- 24 มีนาคม 2495 – ประกาศตั้งนายกรัฐมนตรี (จอมพล แปลก พิบูลสงคราม)
- คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 26
- 21 มีนาคม 2500 – ประกาศตั้งนายกรัฐมนตรี (จอมพล แปลก พิบูลสงคราม)
การจัดตั้งสภานิติบัญญัติ
[แก้ไข]- สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 6
- 30 พฤศจิกายน 2494 – ประกาศคณะบริหารประเทศชั่วคราว ให้สภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิกประเภทที่ 2 (แต่งตั้ง) จนกว่าจะมีสมาชิกประเภทที่ 1 (เลือกตั้ง)
- 30 พฤศจิกายน 2494 – ประกาศแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประเภทที่ 2
- 6 ธันวาคม 2494 – ประกาศให้สภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประเภทที่ 2
- 30 พฤศจิกายน 2494 – พระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมวิสามัญแห่งสภาผู้แทนราษฎร พุทธศักราช 2494
- 30 พฤศจิกายน 2494 – ประกาศคณะบริหารประเทศชั่วคราว ให้สภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิกประเภทที่ 2 (แต่งตั้ง) จนกว่าจะมีสมาชิกประเภทที่ 1 (เลือกตั้ง)
- สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7
- 25 ธันวาคม 2494 – พระราชกฤษฎีกาดำเนินการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประเภทที่ 1 พ.ศ. 2494
- 18 มีนาคม 2495 – พระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2495
การออกกฎหมายเกี่ยวกับคอมมิวนิสต์
[แก้ไข]- กฎหมายว่าด้วยการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน
- 8 มีนาคม 2495 – พระราชบัญญัติว่าด้วยการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2495
- กฎหมายว่าด้วยการป้องกันการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์
- 13 พฤศจิกายน 2495 – พระราชบัญญัติป้องกันการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์ พ.ศ. 2495
- 14 พฤศจิกายน 2495 – แถลงการณ์สำนักนายกรัฐมนตรี
- ประมวลกฎหมายอาญา
- 15 พฤศจิกายน 2499 – ประมวลกฎหมายอาญา
- กฎหมายว่าด้วยการเนรเทศ
- 17 มกราคม 2500 – พระราชบัญญัติการเนรเทศ พ.ศ. 2499
การควบคุมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
[แก้ไข]- 13 มีนาคม 2495 – พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2495
- 18 กันยายน 2499 – พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2499
- 27 ธันวาคม 2499 – พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2499
- 10 มิถุนายน 2495 – ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (จอมพล แปลก พิบูลสงคราม)
- 16 มิถุนายน 2497 – ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (จอมพล แปลก พิบูลสงคราม)
- 26 สิงหาคม 2498 – ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่ง
- 24 ธันวาคม 2498 – ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (จอมพล แปลก พิบูลสงคราม)
- 13 มีนาคม 2495 – พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2495
การสำเร็จราชการของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ
[แก้ไข]- 12 สิงหาคม 2499 – ประกาศตั้งสภานายิกาสภากาชาดไทย (สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ)
- 13 กันยายน 2499 – รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 16/2499 ประชุมลับ เรื่อง ตั้งพระองค์เจ้าธานีนิวัตเป็นผู้สำเร็จราชการฯ ระหว่างพระมหากษัตริย์ผนวช
- 18 กันยายน 2499 – รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 17/2499 ประชุมลับ เรื่อง เปลี่ยนตัวผู้สำเร็จราชการฯ เป็นสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ
- 18 กันยายน 2499 – ประกาศแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ)
- 20 กันยายน 2499 – รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 18/2499 ผู้สำเร็จราชการฯ ปฏิญาณตนรับตำแหน่ง
- 5 ธันวาคม 2499 – ประกาศเฉลิมพระอภิไธยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี
การเลือกตั้ง 26 กุมภาพันธ์ 2500
[แก้ไข]- 29 กุมภาพันธ์ 2499 – พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2499
- 30 สิงหาคม 2499 – พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2499
- 29 ตุลาคม 2499 – พระราชกฤษฎีกาให้เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประเภทที่ 1 พ.ศ. 2499
- 2 มีนาคม 2500 – ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน
- 2 มีนาคม 2500 – คำแถลงการณ์ ฉบับที่ 1
- 13 มีนาคม 2500 – ประกาศยกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน
- 29 กุมภาพันธ์ 2499 – พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2499
รัฐประหารของจอมพล สฤษดิ์
[แก้ไข]- 12 กันยายน 2500 – ประกาศรัฐมนตรีลาออกและแต่งตั้งรัฐมนตรี (จอมพล สฤษดิ์ กับพวก ลาออก)
- 16 กันยายน 2500 – สถานีย่อย:รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2500
งานที่เกี่ยวข้อง
[แก้ไข]คำปราศัยในโอกาสปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎร
[แก้ไข]- 10 เมษายน 2495 – คำปราศรัยของจอมพล ป. พิบูลสงคราม (ต้นฉบับภายนอก)
- 20 กันยายน 2495 – คำปราศรัยของจอมพล ป. พิบูลสงคราม (ต้นฉบับภายนอก)
- 13 กุมภาพันธ์ 2497 – คำปราศรัยของจอมพล ป. พิบูลสงคราม (ต้นฉบับภายนอก)
การอภิปรายในสภาผู้แทนราษฎร
[แก้ไข]- 8 ธันวาคม 2498 – รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 6/2498 (กระทู้ถาม เรื่อง การอภิปรายที่ท้องสนามหลวง และเรื่อง คณะรัฐประหาร) (เริ่มดัชนี)