ผู้สร้างสรรค์:สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

จาก วิกิซอร์ซ
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
นริศรานุวัดติวงศ์, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้า
(พ.ศ. 2406–2490)
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

งาน[แก้ไข]

  1. "คำอุทิศ", ใน ลัทธิธรรมเนียมต่าง ๆ ภาคที่ 26 (พ.ศ. 2479) (ต้นฉบับ)
  2. "ตำนานพระโกษฐ", ใน ประชุมพงษาวดาร ภาคที่ 8 (พ.ศ. 2460)
  3. นิทานชาดก (ม.ป.ป.)
  4. "บทเห่", ใน ประชุมกาพย์เห่เรือ (พ.ศ. 2460)
  5. "บทเห่", ใน ประชุมกาพย์เห่เรือ (พ.ศ. 2464) (ต้นฉบับ)
  6. บันทึกเรื่องความรู้ต่าง ๆ (พ.ศ. 2506) (ต้นฉบับ)
  7. "พิธีราชาภิเศกสมเด็จพระมณีวงศ พระเจ้ากรุงกัมพูชา", ใน ลัทธิธรรมเนียมต่าง ๆ ภาคที่ 21 (พ.ศ. 2472) (ต้นฉบับ)
  8. เรื่องโกศ (ค.ศ. 1939) (ต้นฉบับ)
  9. เรื่องตำนานพระโกษฐ์แลหีบศพบันดาศักดิ์ (พ.ศ. 2468)
  10. "วิจารณ์ เรื่อง ตำนานเสภา", ใน วิจารณ์ เรื่อง ตำนานเสภา และระเบียบการเล่นตำนานเสภา (พ.ศ. 2501) (เริ่มดัชนี)
  11. สาส์นสมเด็จ (พ.ศ. 2475–2486) (ต้นฉบับ)

งานภาพประกอบ[แก้ไข]

  1. บทลครนอก พระราชนิพนธ์รัชกาลที่ 2 รวม 6 เรื่อง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ, โดย หอพระสมุดวชิรญาณ (2465) (ต้นฉบับ)


งานที่บุคคลนี้สร้างสรรค์ขึ้น ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า

ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
  2. ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
    1. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
    2. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
  2. แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก