ไฟล์:รวมงาน - วชิราวุธ - ๒๕๐๑.pdf

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
จาก วิกิซอร์ซ
ลิงก์ไปยังหน้าดัชนี
ไปหน้า
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →

ไฟล์ต้นฉบับ(752 × 1,104 พิกเซล, ขนาดไฟล์: 24.67 เมกะไบต์, ประเภท MIME: application/pdf, 801 หน้า)

ไฟล์นี้มาจาก วิกิมีเดียคอมมอนส์ และอาจมีใช้ในโครงการอื่น คำอธิบายในหน้าคำอธิบายไฟล์แสดงไว้ด้านล่างนี้

ความย่อ

ไทย: ศกุนตลา มัทนะพาธา ท้าวแสนปม ประมวลสุภาษิต   (Wikidata search (Cirrus search) Wikidata query (SPARQL)  Create new Wikidata item based on this file)
ผู้สร้างสรรค์
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว  (1881–1925)  wikidata:Q161389 s:th:ผู้สร้างสรรค์:พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว q:th:พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ชื่ออื่น
Birth name: Maha Vajiravudh; Rama VI; Vajirāvudha
คำอธิบาย กวี, เจ้าแผ่นดิน, นักแสดง, นายทหาร, นักการเมือง และ นักเขียน
วันเกิด/วันเสียชีวิต 1 มกราคม พ.ศ. 2424 แก้ไขที่วิกิสนเทศ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 แก้ไขที่วิกิสนเทศ
สถานที่เกิด/สถานที่เสียชีวิต พระบรมมหาราชวัง พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน
งานควบคุมรายการหลักฐาน
author QS:P50,Q161389
image of artwork listed in title parameter on this page
ชื่อเรื่อง
ไทย: ศกุนตลา มัทนะพาธา ท้าวแสนปม ประมวลสุภาษิต
ผู้เผยแพร่
institution QS:P195,Q123134879
คำอธิบาย
English: A compilation of four poetic works by Rama VI:
  1. Sakuntala, adapted from the stories of Śakuntalāa, a character in Mahābhārata;
  2. Matthanaphatha, aka Tamnan Haeng Dok Kulap ("Legend of Roses");
  3. Thao Saen Pom ("King of Hundred Thousand Lumps");
  4. Pramuan Suphasit ("Collection of Proverbs").
ไทย: รวมกวีนิพนธ์ ๔ เรื่องของรัชกาลที่ ๖ คือ
  1. ศกุนตลา ดัดแปลงจากเรื่องศกุนตลาใน มหาภารตะ
  2. มัทนะพาธา หรือ ตำนานแห่งดอกกุหลาบ
  3. ท้าวแสนปม
  4. ประมวลสุภาษิต
ภาษา ไทย
เผยแพร่ครั้งแรก พ.ศ. 2501
publication_date QS:P577,+1958-00-00T00:00:00Z/9
สถานที่จัดพิมพ์ Bangkok
แหล่งที่มา มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ (๒๕๐๑) (ไทย) ศกุนตลา มัทนะพาธา ท้าวแสนปม ประมวลสุภาษิต, พระนคร: ศิลปาบรรณาคาร

การอนุญาตใช้สิทธิ

Public domain
ภาพหรือสื่อนี้ ถือเป็นงานอันไม่มีลิขสิทธิ์ในเขตอำนาจศาลไทย เนื่องจากลิขสิทธิ์หมดอายุแห่งการคุ้มครองแล้ว ตามมาตรา ๑๙ ถึงมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ดังนี้:

มาตรา ๑๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่มีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ถ้าผู้สร้างสรรค์หรือผู้สร้างสรรค์ร่วมทุกคนถึงแก่ความตายก่อนที่ได้มีการโฆษณางานนั้น ให้ลิขสิทธิ์ดังกล่าวมีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๐ งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ให้นำมาตรา ๑๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๑ ลิขสิทธิ์ในงานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกต์ให้มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๓ ลิขสิทธิ์ในงานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามคำสั่งหรือในความควบคุมตามมาตรา ๑๔ ให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก

สำหรับผู้อัปโหลด : โปรดระบุชนิดของงาน วันที่สร้างสรรค์หรือวันที่เผยเพร่งาน ตลอดจนรายละเอียดอื่นให้ละเอียดและชัดเจน

นอกจากนี้คุณอาจต้องเพิ่มป้ายสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา เพื่อระบุว่าเหตุใดงานนี้จึงเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา โปรดทราบว่างานนี้อาจไม่เป็นสาธารณสมบัติในประเทศที่ไม่ได้ใช้กฎระยะเวลาคุ้มครองลิขสิทธิ์ที่สั้นกว่า และมีข้อกำหนดด้านลิขสิทธิ์ที่ยาวนานกว่าอายุของผู้สร้างสรรค์บวกไปอีก 60 ปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศเม็กซิโก 100 ปี, จาเมกา 95 ปี, โคลอมเบีย 80 ปี, กัวเตมาลาและซามัว 75 ปี, สวิตเซอร์แลนด์และสหรัฐอเมริกา 70 ปี และเวเนซุเอลา 60 ปี

Flag of Thailand
Flag of Thailand

ประวัติไฟล์

คลิกวันที่/เวลาเพื่อดูไฟล์ที่ปรากฏในขณะนั้น

วันที่/เวลารูปย่อขนาดผู้ใช้ความเห็น
ปัจจุบัน15:11, 20 ตุลาคม 2566รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 15:11, 20 ตุลาคม 2566752 × 1,104, 801 หน้า (24.67 เมกะไบต์)AsembleoUploaded a work by {{Creator:Vajiravudh}} from {{cite book | url = https://www.finearts.go.th/storage/contents/2022/07/file/485HGsItY5bgP7s1z1HU04UF9T394nQAwnBJiD4N.pdf | author = มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ | title = ศกุนตลา มัทนะพาธา ท้าวแสนปม ประมวลสุภาษิต | location = พระนคร | publisher = ศิลปาบรรณาคาร | year = ๒๕๐๑ }} with UploadWizard

26 หน้าต่อไปนี้ใช้ไฟล์นี้:

ข้อมูลอภิพันธุ์