ข้ามไปเนื้อหา

ประชุมพงศาวดาร/ภาคที่ 61

จาก วิกิซอร์ซ
ตราของกรมศิลปากร (ระยะแรก)
ตราของกรมศิลปากร (ระยะแรก)
ประชุมพงศาวดารภาคที่ ๖๑
พิมพ์แจกในงานฌาปนกิจศพ
นางชื่น ราชพินิจจัย
เมื่อวันที่ ๑๙ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๙
ณ เมรุเชิงบรมบรรพตวัดสระเกศ.

สารบัญ
หน้า (๑)
(๑)
(๑๔)
หน้า
ลวะจังกราชเนรมิตบันไดเงิน
ลวะจังกราชและบริวารลงมาตามบันไดเงิน
ตำนานเมืองเชียงสา
พระยาตรีจักษุตัดศักราช
ลวะจังกราชอุปบัติ
ลวะจังกราชครองเมืองเงินยาง
เจ้าเมืองยวนถวายบรรณาการ
พระมเหษีลวะจังกราชอธิษฐานขอโอรส
ประสูติโอรส
ประสูติลาวเกลาแก้วมาเมือง
โอรสทั้ง ๓ ไปจับปู
ลวะจังกราชให้โอวาทโอรสทั้ง ๓
ลาวเกลาแก้วมาเมืองยกพลไปฆ่าปู
ลาวเลาแก้วมาเมืองทูลบิดาให้แยกกันไปอยู่คนละเมือง
ลาวเกลาแก้วมาเมืองเสวยราชย์
ลาวเคียงสร้างเมืองเงินยาง
สันตติวงศ์ของลาวก่อ ลาวเถือะ พี่ลาวเกลาแก้วมาเมือง
ขุนจอมธรรมไปเสวยเมืองภุกามยาว
หน้า ๑๐
ขุนจอมธรรมทรงสุบินนิมิตต์
๑๑
ขุนจอมธรรมรู้นิมิตต์
๑๒
จดหมายกำหนดคน
๑๓
อปริหานิยธรรม ๗ ประการ
๑๔
ขุนเจียง ขุนจอม เกิด
๑๘
ขุนเจียงเรียนวิชา
๑๙
ขุนเจียงเสวยราชย์
๒๐
ขุนเจียงรบกับพระยาแกว
๒๑
เหตุที่จะเกิดศึกพระยาแกว
๒๒
ถวายพระนามขุนเจียงว่าพระเจืองฟ้าสธรรมิกราช
๒๓
พระยาธรรมิกราช (ขุนเจียง) ส่งโอรสทั้ง ๕ ไปครองเมือง
๒๕
อัครเทวีพระยาธรรมิกราชเห็นอัศจรรย์ ๑๐ ประการ
๒๖
พระยาแมนตาตอกขอกฟ้าตายืนฆ่าพระยาธรรมิกราช
๒๖
สันตติวงศ์ขุนจองเมืองพระยา
๒๗
พระยางำเมืองเกิด
๒๗
พระยางำเมืองเรียนวิชา
๒๘
พระยางำเมืองเสวยราชย์
๒๘
เชื้อวงศ์พระยามังราย
๒๘
พระยามังรายสร้างเมืองเชียงราย
๒๙
พระร่วงเข้าหาเทวีงำเมือง
หน้า ๓๐
พระยางำเมืองตามจับพระร่วงได้
๓๑
พระยามังรายตัดสินความพระยางำเมืองกับพระร่วง
๓๒
พระยามังรายแผ่อำนาจ
๓๓
พระยามังรายสร้างเมืองเชียงใหม่
๓๓
สันตติวงศ์พระยางำเมือง
๓๕
สองยายตาสร้างพระประธาน
๓๖
ตำนานการสร้างพระประธาน
๓๘
นิทานเค้ามูลทุ่งเอี้ยง หนองเอี้ยง
๔๘
คำถามคำตอบ
๕๑
หน้า ๕๖
เทวกาลเสวยราชย์เมืองนครไทยเทศ
๕๖
โอรสธิดาของเทวกาล
๕๖
สิงหนวติกุมารไปหาที่ตั้งเมือง
๕๖
สิงหนวิตกุมารสร้างเมืองนาคพันธุ์สิงหนวตินคร
๕๙
สิงหนวติกุมารได้เมืองอุโมงคเสลา
๖๐
พระยาอชุตราชเสวยราชย์เมืองโยนก
๖๑
พระยาอชุตราชได้นางปทุมวดีเป็นมเหษี
๖๒
มหากัสสปเถรเจ้านำพระมหาธาตุเจ้ามายังเมืองโยนก
หน้า ๖๓
พระยาอชุตราชพระราชทานที่แก่มหาธาตุเจ้า
๖๔
พระยาอชุตราชให้ช่างคำมาหล่อรูปกัมมโลฤาษี
๖๕
มหากัสสปเถรเจ้าเสด็จเข้าสู่นิพพาน
๖๕
มหากัจจายนเถรเจ้านำมหาธาตุเจ้ามาสู่โยนกนคร
๖๕
พระยาอชุตธรรมิกราชตาย
๖๗
พระมังรายราชโอรสเสวยราชสมบัติแทน
๖๗
มหาวิชรโพธิเจ้ากับฤาษีนำพระบรมธาตุจากเมืองราชคฤห์มาสู่เมืองโยนก
๖๗
พระมังรายราชเจ้าซื้อมิลักขุรักษาพระบรมธาตุ
๖๘
พระมังรายราชเจ้ามีราชบุตร ๒ คน ราชธิดา ๒ คน
๗๐
พระมังรายราชเจ้าแบ่งราชสมบัติ
๗๐
ตั้งเวียงไชยนารายณ์
๗๑
สันตติวงศ์พระมังรายราชเจ้า
๗๒
เสียเมืองโยนกนครแก่พระยาขอมดำ
๗๘
พระองค์พังเจ้าถูกขอมขับไปอยู่เวียงศรีทวง
๗๙
เทวีพระองค์พังประสูติโอรส
๗๙
คำอธิษฐานของสามเณร
๘๐
ความฝันแห่งเทวีของพระยาศรีทวง
๘๑
เทวีศรีทวงประสูติโอรสให้ชื่อว่าพรหมกุมาร
๘๒
ความฝันของพรหมกุมาร
หน้า ๘๓
พรหมกุมารได้ช้างตามฝัน
๘๔
พรหมกุมารห้ามบิดาไม่ให้ส่งส่วยพระยาขอม
๘๔
พรหมกุมารเตรียมสู้พระยาขอม
๘๕
พรหมกุมารยกพลมาต่อรบพระยาขอมดำ
๘๖
พระยาขอมดำพ่ายหนีแก่พรหมกุมาร
๘๖
พระยาอินทร์เนรมิตกำแพงหิน
๘๗
พระองค์พังเจ้าได้ครองเมืองโยนกครั้งที่ ๒
๘๘
พรหมกุมารยกให้ทุกขิตตนพี่เป็นอุปราชา
๘๘
พรหมกุมารได้เทวี
๘๙
พรหมกุมารกับเทวีไปสร้างเวียงไชยปราการ
๘๙
พุทธโฆษาจารย์มหาเถรเจ้าชำระพระธรรม
๘๙
บรรจุพระมหาธาตุเจ้าไว้กลางเวียงไชยนารายณ์
๙๐
การสืบสันตติวงศ์พระองค์พัง
๙๑
พระองค์ไชยศิริโอรสได้ครองเวียงไชยปราการต่อจากพระองค์พรหมราชเจ้า
๙๑
กษัตริย์เมืองสุธรรมวดีเมืองเมงยกรี้พลมารบเวียงไชยปราการ
๙๒
พระองค์ไชยศิริเจ้าเสียเวียงไชยปราการ
๙๓
พระองค์ไชยศิริสร้างเมืองกำแพงเพ็ชร์
๙๔
พระองค์มหาไชยชนะเจ้าราชโอรสเป็นกษัตริย์เมืองโยนก
๙๔
ชาวโยนกนครกินปลาตะเพียนเผือกตัวใหญ่
หน้า ๙๔
ความพินาศของเวียงโยนก
๙๕
ขุนลังได้เป็นใหญ่
๙๗
การสืบต่อกันมา
๙๘
พระอินทร์ได้ลวะจังกราชเทวบุตรลงมาเป็นเจ้า
๑๐๐
ลวะจังกราชตัดศักราช
๑๐๑
ลวะจังกราชสร้างเวียงเหรัญญนครเงินยางเชียงแสน
๑๐๒
ญาณรังสีมาหาเถรเจ้านิมนต์มหาธาตุเจ้ามายังเวียงเหรัญญนครเงินยางเชียงแสน
๑๐๓
เวียงฝาง
๑๐๔
เวียงเชียงราย เวียงเชียงของ
๑๐๕
ลวะจังกราชมีโอรส ๓ องค์
๑๐๕
โอรสทั้ง ๓ ไปจับปู
๑๐๖
โอรสทั้ง ๓ ไปกินเวียง
๑๐๖
ลวะจังกราชตาย
๑๐๗
เจ้าลาวเก้าเสวยราชสมบัติแทน
๑๐๗
สันตติวงศ์ของลวะจังกราช
๑๐๘
ท้าวกีคำลานเจ้าเมืองน่านฆ่าพระยาลาวจังกวาเรือนคำแก้วตาย
๑๐๘
พระยาควักวาวโอรสพระยาลาวจังกวาเรือนคำแก้วฆ่าท้าวกีคำลานตาย
๑๐๙
พระยาควักวาวได้ครองเมืองเงินยางเชียงแสน
หน้า ๑๑๐
ขุนเทืองโอรสครองเมืองต่อมา
๑๑๐
ขุนเทืองได้นายแอกไค่
๑๑๑
นางแอกไค่ให้บุตรแก่ขุนเทือง
๑๑๒
ขุนทึงโอรสได้กินเมืองแทน
๑๑๒
นางแอกไค่ได้เห็นโอรส
๑๑๒
ขุนทึงได้ของวิเศษจากปู่ย่าตายาย
๑๑๓
ขุนทึงสร้างเวียงเชียงเรือง
๑๑๓
ขุนทึงประกาศไม่ให้ทำร้ายสัตว์
๑๑๔
จอมผาเรืองหลานครองเมืองแทนขุนทึง
๑๑๕
โอรสของเจ้าจอมผาเรือง
๑๑๕
ธิดาของพระยาลาวชิน
๑๑๖
พระยาอ้ายเจืองกับเจ้าอุปราชาขุนเจืองชนช้างชนะ
๑๑๗
เจ้าขุนเจืองได้อัครมเหษี
๑๑๘
เจ้าขุนเจืองได้เป็นพระยาเจืองฟ้าธรรมิกราชาเสวยราชสมบัติเมืองเหรัญญนครไชยบุรีเงินยางเชียงแสน
๑๑๙
พระยาเจืองฟ้าธรรมิกราชได้เครื่องบรรณาการและเมืองต่าง ๆ
๑๑๙
พระยาเจืองฟ้ารู้ข่าวศึก
๑๒๐
พระยาเจืองฟ้าธรรมิกราชส่งบุตรไปครองเมือง
๑๒๑
ลาง ๑๐ ประการปรากฎแก่อัครเทวีขุนเจือง
๑๒๑
พระยาแมนตาตอกขอกฟ้าตายืนฆ่าพระยาธรรมิกราช
หน้า ๑๒๒
สันตติวงศ์ต่อจากพระยาธรรมิกราช
๑๒๓
โอรสพระยาลาวเมง
๑๒๓
คำทำนายของปัทมังกรฤาษีเกี่ยวกับโอรส
๑๒๔
มังรายราชโอรสครองเมืองเชียงราย
๑๒๔
มังรายได้เศวตฉัตรในเวียงเงินยางเชียงแสน
๑๒๕
ฤาษี ๔ ตน ลูกพระยาวองตีฟางโพธิญาณ
๑๒๕
ฤาษีทั้ง ๔ สรงเกศาธาตุแห่งพระพุทธเจ้า
๑๒๖
ฤาษีแยกกันกระทำสมณธรรม
๑๒๙
ผู้เป็นใหญ่ในเมืองจอมตุงค์
๑๓๑
ท้าวมังรายทรงสร้างรูปไว้ที่ดอยจอมหงส์
๑๓๒
ท้าวมังรายทรงไล่กวาง
๑๓๓
ท้าวมังรายรบกับชาวลวะ
๑๓๕
มางคุ้มมางเคียนทำอุบายเอาชะนะลวะไว้
๑๓๖
ท้าวมังรายให้อุตรพราหมณ์มาดูที่จะสร้างเมือง
๑๓๗
เหตุผลในการตั้งชื่อเมืองต่าง ๆ
๑๓๘
ท้าวมังรายให้มางคุ้มมางเคียงกินเมือง
๑๓๙
โอรสธิดาของพระยามังราย
๑๔๐
พระยามังรายใช้ให้หมื่นฟ้าทำกลศึก
๑๔๑
พระยายีบาเมืองลำพูนหลงเชื่อเลี้ยงหมื่นฟ้าไว้
๑๔๒
การกระทำต่าง ๆ ของหมื่นฟ้า
หน้า ๑๔๓
พระยามังรายได้เมืองลำพูน
๑๔๔
พระยามังรายครองเมืองหริภุญไชย
๑๔๕
พระยามังรายกับพวกรบชะนะพระยายีบากับพวก
๑๔๖
พระยามังรายให้โอรสครองเมืองต่าง ๆ
๑๔๗
พระยามังรายให้หมื่นฟ้าครองเมืองหริภุญไชย
๑๔๗
พระยามังรายออกไปอยู่ไชยปราการ
๑๔๘
พระยาแสนพูหลานไปแต่งเมืองเชียงราย
๑๔๙
เขตต์แดนเมืองเชียงแสน
๑๕๒
พระยาแสนพูได้พระบรมธาตุ
๑๕๗
บริจาคที่ให้แก่พระบรมธาตุ
๑๕๘
เขตต์แดนพันนาเชียงราย
๑๖๐
เขตต์แดนพันนาเงินยางเชียงแสน
๑๖๐
พวกฮ่อรบเมืองเขินเชียงตุง
๑๖๒
ฮ่อพากันพ่ายหนีไป
๑๖๓
เจ้าน้ำน่านกินเมืองเชียงตุงแทนพระยาน้ำท่วม
๑๖๔
ฟุงตายังแก้วฮ่อยกพลมารบเมืองเขินเชียงตุง
๑๖๔
ฟุงตายังแก้วตายในสนามรบ
๑๖๕
ฮ่อพ่ายหนี
๑๖๕
พระยาแสนพูนสร้างเวียงเงินยางเชียงแสนใหม่
๑๖๗
พระยาแสนพูให้โอรสครองเมืองต่าง ๆ
หน้า ๑๗๐
พระยาแสนพูตาย
๑๗๐
สันตติวงศ์ต่อจากพระยาแสนพู
๑๗๑
ท้าวมหาพรหมสร้างวัดและเจดีย์บรรจุพระมหาธาตุ
๑๗๒
พระราชเจ้ากือนาผู้ครองเมืองพิงเชียงใหม่รบชะนะฮ่อ
๑๗๓
พระมหาเถรเจ้าศิริวังโส
๑๗๔
ฮ่อยกมารบลานนา
๑๗๕
ศิริวังโสมหาเถรเจ้าเป็นราชครู
๑๗๕
พระยาสามปะยาให้ขุนแสงรบฮ่อ
๑๗๗
สามพระยาทำสัตย์สาบานกัน
๑๗๗
อุปัฎฐากมหาธาตุเจ้าจอมยอง
๑๗๗
ขุนแสงได้เป็นพระยาสุวรรณคำลานนาครองเมืองไชยบุรีนครเชียงแสน
๑๗๘
หมื่นพร้าวได้ครองเมืองเชียงแสน
๑๘๒
หมื่นเชียงสงหรือหมื่นพร้าวสร้างวัด
๑๘๒
หมื่นงั๊วหลานอติโลกราชได้ครองต่อมา
๑๘๒
หมื่นงั๊วสร้างวัด
๑๘๓
พระยาอติโลกราชเป็นพระยาหลวงเมืองสาด
๑๘๓
การครองเมืองเชียงแสนสืบต่อกันมา
๑๘๕
เจ้าฟ้ามังทลารบได้เมืองเชียงใหม่
๑๘๘
เจ้าฟ้ามังทลาให้เจ้าฟ้าสาวัตถีมากินเมืองเชียงใหม่
หน้า ๑๘๘
พระหัวระมังทลาครองเมืองเชียงใหม่
๑๘๙
เจ้าฟ้าสุทโธเกิดทะเลาะกันกับเจ้าอุปราชามังแลจ่อเจ่า
๑๙๑
แสนหลวงเรือดอนเป็นเจ้าฟ้าหลวงทิพเนตร
๑๙๑
เจ้าฟ้าหลวงทิพเนตรถูกจับขัง
๑๙๒
เจ้าฟ้าสุทโธธรรมราชตีได้เมืองฝาง
๑๙๓
จิมฟ้าหมวกคำลูกเจ้าฟ้าหลวงทิพเนตรได้ครองเมืองเชียงแสน
๑๙๔
เจ้าฟ้าหลวงทิพเนตรกับเจ้าฟ้าหมวกคำลูกได้เป็นใหญ่ในลานนาทั้งมวล
๑๙๕
วัดในเวียงไชยบุรีเชียงแสนทั้งหลาย
๑๙๕
วัดนอกเวียงไชยบุรีเชียงแสนทั้งหลาย
๑๙๗
วัดที่ดอนมูลกวาว
๑๙๘
พระเจ้าศรีสุทโธธรรมราชตาย
๑๙๙
นัญชะได้เป็นกษัตริย์แทน
๑๙๙
การสืบต่อกันมาของเจ้าฟ้าหลวงทิพเนตร
๑๙๙
ศึกฮ่อมาติดเมืองอังวะ
๑๙๙
พระเจ้าเมืองเบ่พ่ายแก่ชาวอโยธยา
๒๐๐
เอกาทศรถปราบได้เมืองเชียงใหม่
๒๐๐
การครองเมืองเชียงแสนสืบต่อกันมา
๒๐๑
โปแมงชาระเจ้าเมืองเชียงใหม่ฆ่ามณีหงวนเชียงแสน
๒๐๓
มหาธรรมครองเมืองเชียงแสน
หน้า ๒๐๓
เมืองเชียงตุงคืนเป็นข้าม่าน
๒๐๔
ฉลองธาตุเจ้าจอมกิตติ
๒๐๕
เจ้าฟ้าลักทีกินเมืองเชียงแสน
๒๐๕
พระเจ้าหาญวังตีนตีทัพเชียงใหม่แตก
๒๐๗
พระยาหาญเมืองพงครองเมืองเชียงแสน
๒๐๘
องค์นกได้เป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่
๒๐๘
เชียงใหม่เป็นอิสสระ
๒๐๘

งานนี้ ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า

ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
  2. ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
    1. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
    2. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
  2. แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก