การปกครองแคว้นลาวและเขมรของฝรั่งเศส
หน้าตา
การปกครองแคว้นลาวและเขมร
ของฝรั่งเศส
(สังเขป)
กระทรวงมหาดไทย
พุทธศักราช ๒๔๘๓
พิมพ์ที่โรงพิมพ์กรมรถไฟ
นายอุดม กัลยาณมิตร ผู้พิมพ์โฆษณา ๒๖/๘/๘๓
คำนำ
ด้วย พณฯ นายพลตรี หลวงพิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ได้มีบัญชาให้กระทรวงมหาดไทยเรียบเรียงลักษณะการปกครองในแคว้นลาวและแคว้นเขมรของฝรั่งเศสขึ้นเสนอ กระทรวงมหาดไทยได้จัดการรวบรวมและเรียบเรียงเสนอขึ้นไปตามความประสงค์แล้ว มีบัญชาให้จัดพิมพ์ขึ้นเป็นเล่มเพื่อประโยชน์แก่การศึกษาส่วนหนึ่ง กระทรวงมหาดไทยจึงได้จัดการพิมพ์หนังสือเรื่องนี้ขึ้นตามบัญชา แต่ทว่า ในการรวบรวมและเรียบเรียงหนังสือเรื่องนี้ มีเวลาน้อย ไม่มีโอกาสที่จะสืบสวนค้นคว้าข้อความและหลักฐานได้ทั่วถึง ฉะนั้น หนังสือเล่มนี้จึงอาจมีข้อบกพร่องคลาดเคลื่อนอยูบ้างโดยธรรมดา กระทรวงมหาดไทยจึงขอทำความเข้าใจไว้ณที่นี้ด้วย
กระทรวงมหาดไทย
วันที่ ๑๘ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๘๓
วันที่ ๑๘ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๘๓
สารบาญ
บทที่ | ๑. | การปกครองส่วนกลางของอินโดจีนฝรั่งเศส | หน้า | ๑ | ||||
บทที่ | ๒. | การปกครองแคว้นต่าง ๆ ของอินโดจีนฝรั่งเศส | " | ๗ | ||||
บทที่ | ๑. | การปกครองส่วนกลางของแคว้นลาว | " | ๑๒ | ||||
บทที่ | ๒. | การปกครองส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่นของแคว้นลาว | " | ๑๖ | ||||
บทที่ | ๓. | เจ้าและข้ารัฐการพื้นเมืองในแคว้นลาว | " | ๒๑ | ||||
บทที่ | ๔. | การศาลยุตติธรรมในแคว้นลาว | " | ๒๕ | ||||
บทที่ | ๕. | ลักษณะการบริหารและกิจการบางอย่างในแคว้นลาว | " | ๒๘ | ||||
บทที่ | ๑. | การปกครองส่วนกลางของแคว้นเขมร | " | ๔๑ | ||||
บทที่ | ๒. | การปกครองส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่นของแคว้นเขมร | " | ๔๕ | ||||
บทที่ | ๓. | เจ้าและข้ารัฐการพื้นเมืองในแคว้นเขมร | " | ๔๙ | ||||
บทที่ | ๔. | การศาลยุตติธรรมในแคว้นเขมร | " | ๕๒ | ||||
บทที่ | ๕. | ลักษณะการบริหารและกิจการบางอย่างในแคว้นเขมร | " | ๕๓ | ||||
บรรณานุกรม
[แก้ไข]- กระทรวงมหาดไทย. (2483). การปกครองแคว้นลาวและเขมรของฝรั่งเศส. พระนคร: โรงพิมพ์กรมรถไฟ.
งานนี้ ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า
- ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
- ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
- ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
- เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
- เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
- ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
- ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
- แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก