ผู้สร้างสรรค์:สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

จาก วิกิซอร์ซ
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
นเรศวรมหาราช, สมเด็จพระ
(พ.ศ. 2098–2148)
พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา
พระบรมรูปที่มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก

งาน[แก้ไข]

งานที่เกี่ยวข้อง[แก้ไข]

วรรณกรรม[แก้ไข]

  1. เตลงพ่าย, โดย สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส (2470) (ต้นฉบับ)
  2. "สังเวยพระเจดีย์ยุทธหัตถี", โดย สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ, ใน พระกวีนิพนธ์ฯ (2487)

สารคดี[แก้ไข]

  1. "กัณฑ์ที่ 2", โดย พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระดำรงราชานุภาพ, ใน แสดงบรรยายพงศาวดารสยาม (2467) (ต้นฉบับ)
  2. "ตำนานวังน่า", โดย พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระดำรงราชานุภาพ, ใน ประชุมพงษาวดาร ภาคที่ 13 (2462) (ต้นฉบับ)
  3. ประชุมพงษาวดาร ภาคที่ 6 เรื่อง ไทยรบพม่าครั้งกรุงเก่า, โดย พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระดำรงราชานุภาพ (2460)
  4. ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 6: พงศาวดาร เรื่อง ไทยรบพะม่า, โดย สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (2475) (ต้นฉบับ)
  5. พงษาวดาร เรื่อง เรารบพม่าครั้งกรุงศรีอยุทธยา, โดย พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระดำรงราชานุภาพ (2463) (ต้นฉบับ)
  6. พระประวัติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช, โดย สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (2493) (ต้นฉบับ)
  7. "เฟี้สคิงและสกันด์คิง", โดย หม่อมราชวงศ์สุมนชาติ สวัสดิกุล, ใน บันทึกรับสั่งฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประทานหม่อมราชวงศ์สุมนชาติ สวัสดิกุล (2493)
  8. "เมืองไทยมีพระเจ้าแผ่นดิน 2 พระองค์", โดย สมเด็ดพระเจ้าบรมวงส์เทอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ, ใน นิทานโบรานคดี (2487) (ต้นฉบับ)
  9. เรื่องเมืองพิษณุโลก, โดย สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (2496)
  10. "เรื่องสมเด็จพระนเรศวรตีเมืองพะม่า", โดย สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ, ใน เที่ยวเมืองพะม่า (2498) (ต้นฉบับ)
  11. "อธิบายรัชกาลครั้งกรุงเก่า", โดย พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระดำรงราชานุภาพ, ใน ประชุมพงษาวดาร ภาคที่ 5 (2460) (ต้นฉบับ)
  12. "อธิบายเรื่องในรัชกาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช", โดย พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระดำรงราชานุภาพ, ใน พระราชพงษาวดาร ฉบับพระราชหัดถเลขา (เล่ม 1) (2457) (ต้นฉบับ)
  13. "อธิบาย เรื่อง พระมหาอุปราช", โดย พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระดำรงราชานุภาพ, ใน อธิบายเบ็ดเตล็ดในเรื่องพงศาวดารสยาม (2469) (ต้นฉบับ)

เอกสารประวัติศาสตร์[แก้ไข]

กัมพูชา[แก้ไข]

  1. พงศาวดารเขมร จ.ศ. 1217, โดย ออกญาวงศาสรรเพชญ (นง), แปลโดย ขุนสุนทรโวหาร และคณะ (2412)
  2. ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา, โดย พระองค์นพรัตน์, แปลโดย หลวงเรืองเดชอนันต์ (ทองดี ธนะรัชต์) และคณะ (2460) (ต้นฉบับ)

ไทย[แก้ไข]

  1. จุลยุทธการวงศ์ ผูก 2, โดย สมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพน, แปลโดย พระญาณวิจิตร (สิทธิ์ โลจนานนท์) (2463) (ต้นฉบับ)
  2. "บริเฉท 7 ว่าด้วยทสราชวงศ์กรุงศรีอยุธยา", โดย สมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพน, แปลโดย พระยาปริยัติธรรมธาดา (แพ ตาละลักษมณ์), ใน สังคีติยวงศ์ (2466) (ต้นฉบับ)
  3. "แผ่นดินสมเด็ดพระนเรสวรเปนเจ้า", โดย สมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพน, ใน พระราชพงสาวดารกรุงสรีอยุธยา ฉบับความสมเด็ดกรมพระปรมานุชิตชิโนรส เล่ม 1 (2485) (ต้นฉบับ)
  4. พงษาวดารกรุงศรีอยุทธยา ภาษามคธ แลคำแปล, โดย สมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพน, แปลโดย พระยาพจนสุนทร (เรือง อติเปรมานนท์) (2459)
  5. พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ
  6. "รัชกาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช", ใน ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 64: พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) (2479) (ต้นฉบับ)
  7. "สมเด็จพระนเรศวรเปนเจ้า", ใน พระราชพงษาวดาร (ฉบับกรมศึกษาธิการ) เล่ม 1 (2444) (ต้นฉบับ)
  8. "สมเด็จพระนเรศวรมหาราช", ใน พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพระจักรพรรดิพงศ์ (จาด) (2502) (ต้นฉบับ)
  9. "สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 2 (พระนเรศวรมหาราช)", ใน พระราชพงษาวดาร ฉบับพระราชหัดถเลขา ภาค 1 (2455) (ต้นฉบับ)
  10. "สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 2 (พระนเรศวรมหาราช)", ใน พระราชพงษาวดาร ฉบับพระราชหัดถเลขา (เล่ม 1) (2457) (ต้นฉบับ)

พม่า[แก้ไข]

  1. คำให้การขุนหลวงหาวัด (2459) (ต้นฉบับ)
  2. "พงษาวดารกรุงศรีอยุทธยา", โดย ไม่ปรากฏ, แปลโดย มองต่อ, ใน คำให้การชาวกรุงเก่า (2457) (ต้นฉบับ)
  3. "พงษาวดารพม่ารามัญ", โดย ไม่ปรากฏ, แปลโดย ขุนสุนทรโวหาร และคณะ, ใน ประชุมพงษาวดาร ภาคที่ 1 (2475) (ต้นฉบับ)

ล้านนา[แก้ไข]

  1. "ผูก 6", โดย สำนักนายกรัฐมนตรี, ใน ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ (2514) (ต้นฉบับ)

ดูเพิ่ม[แก้ไข]


งานที่บุคคลนี้สร้างสรรค์ขึ้น ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติแล้ว เพราะลิขสิทธิ์ได้หมดอายุตามมาตรา 19 และมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งระบุว่า

ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นบุคคลธรรมดา
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
  2. ถ้ามีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์หมดอายุ
    1. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย หรือ
    2. เมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ไม่เคยโฆษณางานนั้นเลยก่อนที่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายจะถึงแก่ความตาย
ถ้ารู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล หรือถ้าไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์
  1. ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
  2. แต่ถ้าได้โฆษณางานนั้นในระหว่าง 50 ปีข้างต้น ลิขสิทธิ์หมดอายุเมื่อพ้น 50 ปีนับแต่ได้โฆษณางานนั้นเป็นครั้งแรก